Computational Thinking

Programming & Coding

หลักสูตร Computational Thinking

หลักสูตร เรียนรู้แนวคิดเชิงคํานวณตามมาตรฐานสากล IT Specialist: Computational Thinking เป็นจุดเริ่มต้น สําหรับผู้ที่ต้องการศึกษาศาสตร์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) โดยเริ่มต้นจากหัวข้อต่าง ๆ ที่ควรรู้ เช่น ระบบพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ จนนําไปสู่หัวข้อที่เป็นนามธรรมมากขึ้น เช่น ความซับซ้อนของอัลกอริทึม ความสามารถในการ คํานวณของคอมพิวเตอร์ ตลอดจนครอบคลุมแนวคิดพื้นฐานของการออกแบบและสรรสร้างเครื่องจักร (Machine) สําหรับ การประมวลผล เรียนรู้ระบบวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering) การจัดการข้อมูล (Data Organization) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และพื้นฐานทางทฤษฎีของวิทยาการคอมพิวเตอร์ รวมถึง "หลักแนวความคิด 7 ประการ (Seven Big Ideas)" ซึ่งเป็นหลักการสําคัญในทางวิทยาการคํานวณ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบอัลกอริทึม (Algorithms) การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ข้อมูล (Data) การเขียนโปรแกรม (Programming) อินเทอร์เน็ต (Internet) และผลกระทบ (Impact) โดยองค์ความรู้เหล่านี้จะช่วยให้เข้าใจสังคมของนัก เทคโนโลยี อันเป็นรากฐานสําคัญสําหรับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต

ระยะเวลา 12 ชั่วโมง

อบรม 2 วัน | 9.00 น. - 16.00 น.

ระดับ Intermediate

ระดับความรู้ขั้นปานกลาง

ประกาศนียบัตรที่เกี่ยวข้อง

Computational Thinking

ราคา

8,000 บาท

ตารางอบรม

Onsite Online Hybrid Confirm

29-30 เมษายน 2567 ลงทะเบียนรอบนี้

24-25 มิถุนายน 2567 ลงทะเบียนรอบนี้

เนื้อหาการอบรม

  • การจัดเก็บข้อมูล (Data Storage)
    • ข้อมูล (Data) คืออะไร
    • บิต (Bit) และ ไบต์ (Byte)
    • กระบวนการบูลีน (Boolean Operations)
    • ประตูสัญญาณตรรกะ (Logic Gate)
    • Flip-Flop Circuit
    • ระบบเลขฐานสอง เลขฐานสิบ และเลขฐานสิบหก
    • การแปลงข้อมูลเป็นบิตด้วยรหัส ASCII และรหัส Unicode
    • ข้อมูลกับการเขียนโปรแกรม
  • การจัดการกับข้อมูล (Data Manipulation)
    • คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และตรรกศาสตร์ (Logic)
    • Circular Shift, Logical Shift และ Arithmetic Shift
    • โครงสร้างตรรกะทางการเขียนโปรแกรม
    • การใช้ตรรกะทางการเขียนโปรแกรมจัดการกับข้อมูล
  • อัลกอริทึม (Algorithm)
    • อัลกอริทึม คืออะไร
    • การแสดงกระบวนการทํางานอัลกอริทึมด้วย Primitive และ Pseudocode
    • อัลกอริทึม เกิดขึ้นได้อย่างไร
    • ศิลปะในการแก้ไขปัญหา (The Art of Problem Solving)
    • โครงสร้างการทําซ้ํา (Iterative Structures)
    • โครงสร้างการเวียนเกิด (Recursive Structures)
  • ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programming Languages)
    • ที่มาของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
    • แนวคิดของการเขียนโปรแกรม
    • ตัวแปร และชนิดของข้อมูล (Variables and Data Types)
    • โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
    • ค่าคงที่ (Constants/ Literals)
    • การ Assignment Statements
    • การ Control Statements
    • การ Comment
    • ฟังก์ชัน (Function)
    • การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
  • วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
    • วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คืออะไร
    • หลักการ Software Life Cycle
    • หลักการ Modularity
    • การออกแบบกระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Dataflow Diagram, Use Case Diagram)
    • การทดสอบประสิทธิภาพซอฟต์แวร์รูปแบบ Software Testing และ Automated Testing
    • ความสําคัญของการสร้างเอกสาร (Document) ของซอฟต์แวร์
    • ความสําคัญของการพัฒนาระบบ Human Machine Interface (HMI)
  • Data Abstractions
    • โครงสร้างพื้นฐานของข้อมูล (Basic Data Structures)
    • Arrays และ Aggregates
    • Lists Stacks และ Queues
    • โครงสร้างข้อมูลต้นไม้ (Tree)
    • คลาส (Classes) และวัตถุ (Objects)
    • แบบจําลองเชิงนามธรรม (Abstract Models)
  • ระบบฐานข้อมูล (Database System)
    • พื้นฐานของระบบฐานข้อมูล
    • แบบจําลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Data Model)
    • SQL
    • ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object Oriented Database)
    • โครงสร้างไฟล์ (File Structures)
    • เหมืองข้อมูล (Data Mining)
    • ผลกระทบทางเทคโนโลยีฐานข้อมูล (Social Impact of Database Technology)
  • ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
    • ปัญญา (Intelligence) และเครื่องจักร (Machines)
    • การรับรู้ (Perception)
    • การให้เหตุผล (Reasoning)
  • ทฤษฎีการคํานวณ (Theory of Computation)
    • ฟังก์ชันและการคํานวณ (Functions and their Computation)
    • เครื่องจักรทัวริง (Turing Machine)
    • Universal Programming Languages
    • ความซับซ้อนของปัญหา (Complexity of Problems)
Download Course Outline

ตารางอบรม

Onsite Online Hybrid Confirm

29-30 เมษายน 2567 ลงทะเบียนรอบนี้

24-25 มิถุนายน 2567 ลงทะเบียนรอบนี้