เทคนิคการบริหารโครงการตามมาตรฐาน PMI

Other

หลักสูตร เทคนิคการบริหารโครงการตามมาตรฐาน PMI

เรียนรู้พื้นฐานการจัดการโครงการตามมาตรฐาน PMI แนวคิดหลัก กรอบการวิเคราะห์ธุรกิจ วิธีการจัดการโครงการแบบดั้งเดิม และแบบแอจายล์ ตอบโจทย์ความท้าทายของการบริหารโครงการ คือ การจัดการ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม และสมบูรณ์ที่สุด ในเวลาจำกัด ภายใต้เงื่อนไขของ เวลา งบประมาณ คุณภาพ และขอบเขตการทำงาน ซึ่งเป็นหัวใจของการบริหารโครงการ

ระยะเวลา 12 ชั่วโมง

อบรม 2 วัน | 9.00 น. - 16.00 น.

ระดับ Intermediate

ระดับความรู้ขั้นปานกลาง

ประกาศนียบัตรที่เกี่ยวข้อง

Project Management Institute®

ราคา

12,000 บาท

เนื้อหาการอบรม

ความรู้พื้นฐานการบริหารโครงการและแนวคิดหลัก
  • Project Management คืออะไร
  • ทักษะของการบริหารโครงการ
  • องค์ประกอบของโครงการ
  • การจัดทำกฎบัตรโครงการ (Project Charter)
  • กำหนดพื้นฐานโครงการ
  • ตัวอย่างเอกสารผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการ (Stakeholder Register)
  • แผนสำรองฉุกเฉิน (Contingency Plan)
  • โครงสร้างองค์กร
  • การบริหารการเปลี่ยนแปลง
  • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (Key Stakeholders)
  • บทบาทและความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
  • ข้อดีและข้อเสียของเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ
  • การประชุมต่าง ๆ ในโครงการ
การวิเคราะห์ธุรกิจ
  • การวิเคราะห์บทบาทและความรับผิดชอบในธุรกิจ
  • แผนการจัดการการสื่อสาร (Communications management plan)
  • การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
  • Requirement ชนิดต่าง ๆ
  • เครื่องมือสำหรับการรวบรวม Requirement
  • แผนงานโครงการ (Project Roadmaps)
  • การจัดทำการตรวจสอบย้อนกลับของผลลัพธ์กับความต้องการโครงการ
  • Product Backlog กับ Sprint Backlog
การบริหารโครงการแบบดั้งเดิม
  • ภาพรวมของวิธีการตามแบบดั้งเดิม วิธีการอิงตามแผน (Plan-Base Approach)
  • กระบวนการจัดการโครงการ
  • ข้อดีและข้อเสียของวิธีการแบบดั้งเดิม
  • บทบาทและความรับผิดชอบตามแผนแบบดั้งเดิม
  • เครื่องมือที่ใช้กับแบบดั้งเดิม (SOW, RACI, NLD, Gantt and Bar Charts)
  • กำหนดการของโครงการ (Project Schedule)
  • การจัดทำโครงสร้างการแบ่งงาน (Work Breakdown Structure)
  • การขึ้นต่อกันของกำหนดการแต่ละกิจกรรม (Schedule Dependencies)
  • การหาเส้นทางวิกฤต (CPM)
  • การควบคุมโครงการ
  • แบบจำลองเศรษฐกิจ (Economics Model) สำหรับการเลือกโครงการ
การบริหารโครงการแบบแอจายล์
  • หลักการแบบแอจายล์
  • ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ (Servant leadership) และวิธีการแบบแอจายล์
  • วิธีออกแบบกรอบการทำงานที่เหมาะสม (Scrum, Kanban, SAFe®)
  • ข้อดีและข้อเสียของการบริหารโครงการแบบแอจายล์
  • ความหมายและความสำคัญของตัวชี้วัด (Agile Metrics)
  • บทบาทและความรับผิดชอบตามแผนแบบแอจายล์
  • การตรวจสอบโครงการในแบบของแอจายล์ (Agile Monitoring)
  • สิ่งส่งมอบ
  • กรอบการทำงานยอดนิยมของแอจายล์แบบต่าง ๆ (เพิ่มเติม)
  • ขั้นตอนการจัดการงาน